วันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

Phrasal Verb


Phrasal verbs หรือ two-word verbs
     คือ การใช้คำกริยาที่ปกติแล้วมีความหมายอย่างหนึ่ง แต่ส่วนประกอบ เมื่อ verb+ preposition or particle มารวมกันเป็น Phrasal verbs แล้ว อาจจะทำให้เกิดความหมายใหม่ขึ้นมาซึ่งอาจจะไม่มีเค้าความหมายของคำกริยาเดิมเลย นิยมใช้กันมากในภาษาอังกฤษ

หลักสำคัญในการใช้ Phrasal Verbs หรือ Two-Word Verbs
1.เมื่อไม่มี direct object ต้องวาง adverb ไว้ติดกับ verb เช่น
   - please come in.
   - Don't give up, whatever happens.

2. เมื่อมี object pronoun เช่น him, her, it, them, me, us, เป็น direct object ต้องวาง object เหล่านี้ไว้หน้า adverb เช่น
   - I can't make it out. (right)
   - I can't make out it.(wrong)

3. เมื่อมี noun เช่น book , pen , houses , etc.เป็น direct object จะวาง noun ไว้หน้าหรือหลัง adverb ก็ได้        (verb +adverb +noun) หรือ (verb +noun +adverb) เช่น
   - Turn on the light.  หรือ  - Turn the light on.

4. ตามข้อ 3 ถ้า object เป็นคำยาว เช่นมี object clause ขยายต้องวางobject ไว้หลัง adverb เช่น
   - He gave away every book that he possesed. (right)
   - He gave every book that he possesed away. (wrong)

5. ในประโยคอุทาน (exclamatory Sentences)ให้วาง adverb ไว้หน้าประโยคยืดหลักดังนี้
   5.1 ถ้าประธานเป็น noun เอากริยาตามมาได้เลย เช่น
      -Off went john! = John went off.
   5.2 ถ้าประธานเป็น pronoun ใหัใช้แต่ adverb ไม่ต้องใช้ verb เช่น
      -Away they went ! = They went away.


ประเภทของ Phrasal verbs
1. Inseparable Verbs with no objects  คือ phrasal verb ที่ต้องติดกัน ไม่สามารถแยกจากกันได้ ไม่ต้องมีกรรม เช่น
   set off ออกเดินทาง         Speed up เร่งความเร็ว
   Wake up ตื่นนอน            Stand up ยืนขึ้น
   Come in เข้ามาถึง           Get on ขึ้น (รถ) / เข้ากันได้
   Carry on ทำต่อไป           Find out เรียนรู้
   Grow up เติบโต             Turn up ปรากฏตัว

2. Inseparable Verbs with objects คือ phrasal verb ที่ต้องอยู่ติดกัน ไม่สามารถแยกจากกันได้ แต่ต้องมีกรรม เช่น
Look after เลี้ยงดู           
Look into สอบถาม ตรวจสอบ
Run into ชน    
Come across พบโดยบังเอิญ
Take after เหมือนถอดแบบ        
Deal with ติดต่อ เกี่ยวข้อง
Go off ออกไป จากไป หยุดทำงาน         
Cope with จัดการ

3. Separable verbs คือ ที่แยกจากกันได้ มักจะต้องการกรรม
   Turn on เปิด(ไฟ)           Turn off ปิด (ไฟ)
   Turn down หรี่ (เสียง)     Swith off ปิด
   Look up มองหา             Take off ถอด ออกดินทาง

4. Three-Word Phrasal Verbs  คือ phrasal verb ที่ไม่มีกรรมและบางครั้งมีการใช้บุพบทมากกว่า 1 ตัว เช่น
   Get on with ทำต่อไป ไม่หยุด                Cut down on ลดปริมาณลง
   Look out for เตรียมพร้อม                      Catch up with ตามทัน
   Run out of หมด                                  Get down to เอาจริงเอาจัง
   Stand up for ปกป้อง เดือดร้อนแทน         Look down to ดูถูก
   Look up to ยอมรับนับถือ                        Put up with อดทน
   Look out on มองออกไป

วันอาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

Present Simple Tense

โครงสร้าง
S + V1 (ประธานเอกพจน์ กริยาเติม s,es)
ประธาน + กริยาช่องที่ 1 (ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเติม s หรือ es แล้วแต่กรณี)
S + กริยาช่วย + V1
ประธาน + กริยาช่วย + กริยาช่องที่ 1 (ไม่ต้องเติม s ทุกกรณี)
กริยาช่วยที่ใช้บ่อยคือ can, should, must...อ่านเพิ่มเติม
Present Perfect Progressive vs Present Perfect Simple

การใช้ Present Perfect Continuous และ Present Perfect
1. การกระทำที่ยังไม่เสร็จ (unfinished activity) กับการกระทำที่เสร็จ สิ้นไปแล้ว (finished activity)
ตัวอย่าง

1. Ricardo has been writing a report for Janet. He is sill in the library.
ริคาร์โด้กำลังเขียนรายงานให้เจเน็ท เขายังคงอยู่ในห้องสมุด
2. Susan has written a report for Evita. She is going back home now.
ซูซานเขียนรายงานให้เอวิต้าเสร็จแล้ว ตอนนี้เธอกำลังกลับบ้าน...อ่านเพิ่มเติม
Future with Will or Be going to

การใช้ will/ be going to
1. will และ be going to เป็นโครงสร้างที่ใช้แสดงอนาคตกาล
2. โครงสร้าง be going to ใช้ในความหมายของความตั้งใจจะกระทำจริงๆ ในอนาคตมากกว่าโครงสร้าง will
3. โครงสร้าง  will/ be going to ต้องตามด้วยกริยาแท้ที่ไม่กระจายเสมอ ...อ่านเพิ่มเติม
The Passive

Passive จะใช้เมื่อ:
   1. เมื่อการกระทำสำ คัญกว่าบุคคลผู้กระทำ เช่น The palace was built in 6 months. แปลว่า พระราชวังถูกสร้างขึ้นภายใน 6 เดือน. ในกรณีนี้ผู้สร้างไม่สำคัญเท่าพระราชวังที่ถูกสร้างขึ้น.... อ่านเพิ่มเติม


Reflexive Pronouns

Pronouns คือ คำที่ใช้เพื่อทดแทนคำนาม หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “สรรพนาม” สำหรับ Reflexive pronouns (ริเฟล็กซิฟวฺ โพรนาวสฺ) หมายถึง สรรพนามที่สะท้อนกลับไปยังคำนามหรือสรรพนามที่ทำหน้าที่ประธานในประโยค ข้อสังเกตของสรรพนามประเภทนี้คือลงท้ายด้วย -self ถ้าเป็นเอกพจน์ หรือ -selves ถ้าเป็นพหูพจน์.... อ่านเพิ่มเติม
Modal Auxiliaries

Modal verbs ใช้แสดงได้ทั้ง ‘ความเป็นไปได้’ และ ‘แนวโน้มของความเป็นไปได้’ 

Modal verbs จึงแสดงได้ทั้ง ‘ความเป็นปัจจุบัน’ และ ‘ความเป็นอนาคต’
    เราสามารถแบ่งระดับการใช้ modal verbs ที่แสดง ‘ความเป็นไปได้’ และ ‘แนวโน้ม
ของความเป็นไปได้’ ได้ 3 ระดับดังนี้
      เป็นไปได้มาก               เป็นไปได้ปานกลาง               เป็นไปได้น้อย
(ในปัจจุบันหรือในอนาคต)          (ในปัจจุบันหรือในอนาคต)           (ในปัจจุบันหรือในอนาคต).... อ่านเพิ่มเติม